หน้าที่ 2
บทคัดย่อ
ประวัติผู้วิจัย
กิตติกรรมประกาศ
บทนำ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอแนะ
ข้อมูลเพิ่มเติม
My Guestbook
Link : ศูนย์ศึกษาลาว
              3. เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม รอบลำธาร มีผลต่อโครงสร้างชุมชนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินมาก หรือ อาจกล่าวว่า โครงสร้างชุมชนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง หน้าดิน สามารถสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมของลำธารได้ ดังนั้น จึงสามารถใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน ในการร่วมประเมินผลกระทบที่เกิดจากการทำลายสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลดน้อยลงของป่าไม้ริมลำธาร หรือ สามารถบอกได้ว่า บริเวณใดที่กำลังฟื้นตัวขึ้น
              4. ควรส่งเสริมให้มีการวิจัยเกี่ยวกับ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน โดยเฉพาะแมลงชีปะขาว แมลงสโตนฟลาย และแมลงหนอนปลอกน้ำ หรือที่เรียกว่า กลุ่ม EPT ให้มากขึ้น ในแง่มุมต่างๆ รวมทั้งขยายพื้นที่การศึกษาให้ครอบคลุมพื้นที่ป่าต้นน้ำอื่นๆ เนื่องจากสัตว์กลุ่มนี้ มีความสัมพันธ์กับความหนาแน่นของป่าไม้ปกคลุมมาก โดยเฉพาะ แมลงหนอนปลอกน้ำ (T) พบว่า มีความสัมพันธ์มากที่สุด การศึกษาสัตว์เหล่านี้ จะช่วยให้ได้ข้อมูลร่วมที่สามารถนำไประโยชน์ไปใช้ในการจัดการบริหารพื้นที่ป่าไม้ได้

<<<กลับไปหน้าที่ผ่านมา( หน้า 1 2 )

[ Home ][บทคัดย่อ ] [ ประวัติผู้วิจัย ] [ กิตติกรรมประกาศ ] [ บทนำ ] [ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ] [ ข้อเสนอแนะ ] [ ข้อมูลเพิ่มเติม ] [ My Guestbook ]